Difference between revisions of "Thai"

From TED Translators Wiki
Jump to: navigation, search
(ข้อมูลจำเพาะสำหรับการแปลภาษาไทย)
Line 72: Line 72:
 
==คำแนะนำสำหรับนักแปลมือใหม่==
 
==คำแนะนำสำหรับนักแปลมือใหม่==
 
* รอการเพิ่มข้อมูล
 
* รอการเพิ่มข้อมูล
 +
 +
===เสนอแนะให้เพิ่มในหลักการแปล===
 +
* คำว่า "talk", "speaker" ควรแปลเป็น ___ ?
 +
* ตัวเลขไทยหรือตัวเลขอารบิก?
 +
* ศัพท์เฉพาะ ควรแปลไหม? เช่น Firefox หากแปล ควรมีวงเล็บภาษาอังกฤษกำกับไหม?
 +
* ชื่อบุคคล ควรแปลเป็นภาษาไทยไหม? หากแปล ควรมีวงเล็บภาษาอังกฤษกำกับไหม?
  
 
=รายชื่อผู้แปลภาษาไทย=
 
=รายชื่อผู้แปลภาษาไทย=
 
ดูที่ [http://www.ted.com/translate/translators/lang/th Our Translators]
 
ดูที่ [http://www.ted.com/translate/translators/lang/th Our Translators]

Revision as of 15:41, 29 May 2012

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Wiki สำหรับผู้แปล TEDTalks ภาษาไทย!

โครงการ Open Translation Project ก่อตั้งขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถร่วมแปลบทบรรยาย TED Talks ไปเป็นภาษาอื่นๆนอกจากภาษาอังกฤษได้ เพื่อให้ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการรับชมวีดีโอ ไม่ถูกจำกัดเพียงแต่ผู้ที่เข้าใจภาษาอังกฤษเท่านั้น

ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนช่วยเผยแพร่ความรู้ระดับโลกให้เข้าถึงผู้คนได้มากที่สุดครับ

พูดคุยปรึกษาเกี่ยวกับ OTP ได้ที่ TED Open Translation Project Forum - Thai

แนวทางปฏิบัติทั่วไป

ข้อมูลจาก OTP General Style Guidelines

หลักการแปลโดยคร่าว

  • ไม่ใช้ภาษาทางการหรือศัพท์เทคนิคจนเกินไป
  • ยึดภาษาทันสมัยมากกว่าการยึดภาษาตามธรรมเนียม
  • ยึดตามโทนเสียงและอารมณ์ของผู้พูดมากกว่าการแปลตรงตัว
  • เลือกสรรสำนวนท้องถิ่นที่สื่อความหมายได้ มากกว่าการแปลตรงตัว

หลักการแปลที่สำคัญ

  • ศัพท์เฉพาะของ TED : นั่นคือ "TED", "TED Prize", "TEDTalks" ให้คงไว้ในรูปภาษาอังกฤษเสมอ
  • ชื่อผลงาน : เช่นชื่อหนังสือ นิตยสาร ภาพยนตร์ บทกลอน พยายามใช้คำแปลที่ถูกแปลอย่างเป็นทางการ หากไม่มีให้แปลให้ได้ใกล้เคียงความหมายที่สุด
  • ชื่อคน : ให้คงไว้ในรูปแบบเดิม เพื่อประสิทธิภาพในการค้นหา
  • ชื่อสถานที่ : ใช้ชื่อที่รู้จักกันดีในภาษาท้องถิ่น หากไม่มีให้ทับศัพท์เอา
  • การเว้นวรรค : พยายามให้สอดคล้องกับลักษณะการพูดให้มากที่สุด และให้อ่านง่ายที่สุด

ข้อมูลจำเพาะสำหรับการแปลภาษาไทย

ข้อมูลจาก

  • คู่มือการเขียนภาษาไทยในวิกิพีเดีย [1]
  • Microsoft Thai Style Guide [2]

หลักการแปล

หลักการใช้เครื่องหมายในการแปล

เพิ่มรายละเอียด

  • จุลภาค (,) มักถูกใช้ในภาษาอังกฤษเพื่อทำการแบ่งคำ แต่ในภาษาไทยจะไม่ถูกใช้มากนัก ยกเว้นเพื่อให้สามารถเห็นการแบ่งคำที่ปกติเห็นได้ยากเท่านั้น จึงไม่ควรใส่เครื่องหมายจุลภาค (,) ในตำแหน่งเดียวกันกับบทแปลภาษาอังกฤษ
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล
  • มหัพภาค (.)
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล
  • ปรัศนี (?)
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล

หลักการอ้างอิงถึงผู้พูดในการแปล

เพิ่มรายละเอียด

  • ควรทำการแปลด้วยการ .. วิธีการแปล
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล

หลักการอ้างอิงคำศัพท์เฉพาะในการแปล

เพิ่มรายละเอียด

  • ควรทำการแปลด้วยการ .. วิธีการแปล
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล

หลักการเพิ่มรายละเอียดในการแปล

เพิ่มรายละเอียด

  • ควรทำการแปลด้วยการ .. วิธีการแปล
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล

หลักการอ้างอิงถึงวัน/ เดือน/ ปี

เพิ่มรายละเอียด

  • ควรทำการแปลด้วยการ .. วิธีการแปล
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล

หลักการอ้างอิงจำนวน

เพิ่มรายละเอียด

  • ควรทำการแปลด้วยการ .. วิธีการแปล
    • ยกตัวอย่างเช่น .. ตัวอย่างประโยค
    • ควรแปลเป็น .. ตัวอย่างคำแปล

คำถามที่พบบ่อย

  • รอการเพิ่มข้อมูล

คำแนะนำสำหรับนักแปลมือใหม่

  • รอการเพิ่มข้อมูล

เสนอแนะให้เพิ่มในหลักการแปล

  • คำว่า "talk", "speaker" ควรแปลเป็น ___ ?
  • ตัวเลขไทยหรือตัวเลขอารบิก?
  • ศัพท์เฉพาะ ควรแปลไหม? เช่น Firefox หากแปล ควรมีวงเล็บภาษาอังกฤษกำกับไหม?
  • ชื่อบุคคล ควรแปลเป็นภาษาไทยไหม? หากแปล ควรมีวงเล็บภาษาอังกฤษกำกับไหม?

รายชื่อผู้แปลภาษาไทย

ดูที่ Our Translators